วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Raster to Vector


ราสเตอร์ ( Raster )
ประกอบด้วยลักษณะของช่องสี่เหลี่ยมที่เรียกว่ากริด  หรือ  จุด” (Grid or Pixels) โดยในแต่ละจุดจะประกอบด้วยตัวเลขซึ่งใช้ในการแทนค่าของระดับความเข้มที่ต่างกันในแต่ละส่วนของภาพ





GRID





                 ประกอบด้วยลักษณะของจุด(Point)  เส้น(Line) รูปเหลี่ยมพื้นที่(Polygon) ซึ่งขบวนการเก็บของข้อมูลเวคเตอร์จะใช้คู่พิกัด X และ Y เป็นตัวชี้ตำแหน่ง




ความแตกต่างของ raster และ vector


แบบราสเตอร์
แบบเวคเตอร์
ความชัดเจนของภาพ
ความชัดเจนดี
ความชัดเจนในส่วนจุดเส้นและรูปเหลี่ยมพื้นที่
คารสอบถามข้อมูล
การสอบถามข้อมูลเชิงระยะทางจะช้า
การสอบถามข้อมูลเชิงระยะทางจะเร็ว
ความเหมือนจริงของภาพ
มีความเหมือนจริงมาก
มีความเหมือนจริงน้อย
การปรับปรุงและแก้ไขข้อมูล
ต้องใช้เวลามากและแก้ไขยาก
สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว

ตัวอย่างการแปลงภาพ

Raster





                                          Vector

สรุป
การเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลของระบบ GIS นั้น จะต้องทำการเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลประเภทเวคเตอร์ลงในฐานข้อมูล จึงจำเป็นที่จะต้อง แปลงข้อมูลราสเตอร์ที่เราได้มาให้เป็นข้อมูลเวคเตอร์ซึ่งเริ่มจาก ทำให้ภาพมีโครงร่างที่บาง จากนั้นก็ทำการหาส่วนของเส้นตรง สุดท้ายทำการจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบของภาพ แล้วก็ทำการเก็บข้อมูลเวคเตอร์ที่ได้นี้ลงในฐานข้อมูล

แหล่งที่มา 
กิ่งกาญจน์ วงศ์วิภาพรและดร.บุญวัฒน์ อัตชู.2541.การแปลงข้อมูลภาพจากรูปแบบราสเตอร์เป็นเวคเตอร์แบบอัตโนมัติ.วารสารสารสนเทศลาดกระบัง.59-61
สรรค์ใจ กลิ่นดาว.2542.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลักการเบื้องต้น.ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น